ผลการวิจัยล่าสุดจากมหาวิทยาลัยคอลเลจ สอนดอง ประเทศอังกฤษ พบว่าเด็กที่นอนดึกจะส่งผลให้ความทนทานและสมาธิ
ในการอ่านและการติดคำนวณอยู่ในระดับต่ำ เมื่อเทียบกับเด็กที่เข้านอนเร็ว
จากการวิจัยโดยศาสตราจารย์อแมนดา แซกเกอร์ ซึ่งดีพินในวารสารระบาดวิทยาและอนามัยชุมชน ทำการเก็บข้อมูล
จากเด็กอายุ 7 ขวบ จำนวนมากกว่า 11,000 คน พบว่าได้ภาพรวมเด็กที่มีเวลาเข้านอนไม่ค่อยสม่ำเสมอ หรือไม่ควร
เข้านอนก่อนเวลา 21.00 น. จะมีคะแนนในการทดสอบความสามารถในการอ่าน การคิดคำนวณ และความเข้าใจใน
มิติสัมพันธ์ที่ต่ำกว่าเด็กที่มีพฤติกรรมการเข้านอนเร็วกว่า 21.00 น. อย่างสม่ำเสมอ อแมนดาหัวหน้าทีมวิจัยระบุว่า การเข้านอนไม่เป็นวดนั้นอาจเป็นผลสะท้อนมาจากสภาพแวดล้อมของคอบ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ส่งผลมากต่อการนอนหลับ
โดยจากกลุ่มตัวอย่างเด็กที่เข้านอนดึกและไม่เป็นมาจากข้อด้อยด้านพื้นฐานทางสังคม ได้อ่านหนังสีอ
แต่ละคืน และโดยทั่วไปมักจะใช้เวลาก่อนนอนไป นั้นดูโทรทัศน์เป็นส่วนใหญ่